News

รวมบทความ เกี่ยวกับ ความรู้เรื่องงานก่อสร้าง

micropile i18 feature

ข้อดีของเสาเข็มไมโครไพล์

adminAug 5, 20242 min read

เสาเข็มไมโครไพล์ (micropile) มีข้อดีหลายประการ ซึ่งทำให้เป็นทางเลือกที่นิยมใช้ในการก่อสร้าง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่และการเข้าถึง: การใช้เสาเข็มไมโครไพล์จึงเป็นทางเลือกที่ดีในหลาย ๆ โครงการที่ต้องการความมั่นคงและประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง #micropile#ไมโครไพล์#เสาเข็มไมโครไพล์#spun micropile#spun micro pile#micropile ไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์

เครื่องมือสำหรับงานก่อสร้าง

เครื่องมือสำหรับงานก่อสร้าง

adminSep 15, 20236 min read

งานก่อสร้างอาคารนอกจากฝีมือของช่างผู้ที่ปฏิบัติงานก่อสร้างอาคารแล้วเครื่องมือก็เป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน งานก่อสร้างอาคารมีช่างหลายสาขาประกอบกันอยู่ เช่น ช่างไม้แบบ ช่างไม้ โครงสร้าง ช่างปูน ช่างเหล็กเสริมคอนกรีต ช่างเชื่อมเหล็กโครงสร้างฯ จึงได้แบ่งเครื่องมือที่ใช้ในงาน ก่อสร้างอาคารเป็น 3 ประเภทดังนี้

อย่าเปลี่ยนพื้นห้องแถวชั้นล่างให้เป็น Slab on Beam

อย่าเปลี่ยนพื้นห้องแถวชั้นล่างให้เป็น Slab on Beam

adminOct 24, 20221 min read

กว่า 99.99% ของห้องแถวในประเทศไทย พื้นชั้นล่างจะเป็น Slab on Ground คือพื้นชั้นล่าง ถ่ายน้ำหนัก ของพื้น ลงบนดินโดยตรง (เวลาดินทรุดพื้นห้องก็ทรุดตาม เกิดอาการแอ่นและแตกร้าว) แต่คุณก็อย่าดัน ไปทุบ พื้นเก่าทิ้ง แล้วหล่อพื้นขึ้นใหม่ ให้พื้นไปวางบนคาน (Slab on Beam) เพื่อป้องกันทรุด เชียวนา เพราะทั้งคาน- ตอม่อ- ฐานราก- เสาเข็ม ไม่ได้เตรียมตัวสำหรับน้ำหนักโครงสร้าง-น้ำหนักจร (Life Load & Dead Load) ไว้ อาจทำให้ อาคารคุณวิบัติเอาง่าย ๆ (แล้วชวนห้องอื่นเขาวิบัติตาม เพราะโครงสร้างห้องแถวนั้น ต่อเนื่องกันทุก…

micropile foundation

ฐานรากเสาเข็ม

adminOct 20, 20223 min read

เสาเข็มนับว่าเป็นส่วนสำคัญของโครงสร้างที่สัมผัสดินโดยตรง เสาเข็มจะท้าหน้าที่ถ่ายน้้าหนักของอาคารลงสู่ดินที่ระดับลึก กรณีที่จะต้องใช้เสาเข็มได้แก่ เมื่อชั้นดินระดับตื้นไม่สามารถรับน้้าหนักของอาคารได้ หรือเกิดได้ก็มีการทรุดตัวมากเกินไปเมื่อมีน้้าหนักของอาคารกดทับ จึงต้องใช้เสาเข็มในการถ่ายน้้าหนักของอาคารลงสู่ชั้นดินแข็งที่อยู่ในระดับลึก ถ้าชั้นดินแข็งอยู่ลึกมากน้้าหนักจะถ่ายลงสู่ดินในรูปของแรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม เมื่อโครงสร้างจะต้องรับแรงทางด้านข้าง หรือมีโมเมนต์ดัดจากโครงสร้างส่วนบน เสาเข็มอาจจะต้องถูกออกแบบให้รับได้ทั้งแรงในแนวดิ่งและโมเมนต์ ซึ่งโครงสร้างส่วนใหญ่ในกรณีนี้จะเป็น ก้าแพงกันดิน (Retaining wall) หรือโครงสร้างที่ต้องรับแรงลม หรือแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว เมื่อโครงสร้างจะต้องก่อสร้างบน Expansive soil หรือ Collapsible soil ซึ่งมีความหนามาก Expansive soil จะพองตัวเมื่อความชื้นในดินเพิ่มขึ้น ถ้าใช้ฐานรากแบบตื้นจะท้าให้โครงสร้างเกิดความเสียหายได้ จึงต้องใช้เสาเข็มเพื่อถ่ายน้้าหนักลงสู่ชั้นดินที่ไม่มีการพองตัว ในกรณีที่โครงสร้างมีแรงถอนเกิดขึ้นเช่นโครงสร้างเสาส่งไฟฟูาหรือ อาคารห้องใต้ดินที่มีจมอยู่ใต้ระดับน้้าใต้ดินซึ่งจะมีแรงลอยตัวกระท้า ท้าให้ต้องใช้เสาเข็มยึดโครงสร้างไว้เพื่อต้านทานแรงถอน เสาเข็มของสะพานซึ่งการไหลของน้้าอาจกัดเซาะดินที่ท้องน้้า จึงต้องใช้เสาเข็มเพื่อถ่ายน้้าหนักสะพานลงสู่ชั้นดินที่น้้ากัดเซาะลงไปไม่ถึง การจำแนกชนิดของเสาเข็ม British Standard Code of Practice for…

จับเซี๊ยม จับปุ่ม

จับเซี้ยม จับฉาก จับปุ่ม คืออะไร

adminSep 30, 20223 min read

การจับเซี้ยม จับฉาก จับปุ่มเป็นกรรมวิธีจัดเตรียมระดับ-ระยะก่อนการฉาบปูน ลักษณะเป็นปุ่มปูนทรายที่แสดงถึงแนวสันของผนัง หรือ มีระนาบแบนให้เห็นความหนาของผิวปูนที่จะฉาบลงไป การฉาบปูนที่ถูกกรรมวิธี ช่างปูนจะต้องจับเซี้ยม จับฉาก จับปุ่มก่อนที่จะ ฉาบปูน เสมอ หากท่านเห็นว่าช่างปูนใดฉาบผนังบ้านท่านโดยไม่ทำเซี้ยม-ฉาก-ปุ่มเสียก่อน ก็น่าจะบอก ผู้ก่อสร้าง ให้เปลี่ยน ช่างปูนได้แล้วการก่ออิฐที่ถูกกรรมวิธีนั้นจะต้องดำเนินการดังนี้ อิฐจะต้องชุปน้ำให้ชุ่มน้ำเสียก่อน ไม่เช่นนั้นอิฐจะดูดซึมน้ำปูน จนปูนก่อไม่ทำหน้าที่ยึดเกาะที่ดี การก่ออิฐจะต้องไม่ก่อสูงมากนักในทีเดียว จะต้องทิ้งไว้ให้ปูนก่อยุบตัวลงมาแล้วจึงก่อต่อไปจนหมด และทิ้งช่องว่างระหว่างผนังกับท้องพื้นด้านบนไว้หน่อยก็จะยิ่งดี ภายหลังเมื่อผนังทรุดตัวดีแล้วจึงก่ออิฐก้อนสุดท้ายได้ เมื่อก่ออิฐเสร็จแล้วต้องทิ้งไว้อย่างน้อย 1 วันให้ผนังอยู่ตัว และความร้อนจากปูนก่อเย็นลง จึงเริ่มจับเซี้ยมจับฉากจับปุ่ม แล้วฉาบปูน การฉาบปูนต้องมีส่วนผสมที่ดี และน่าผสมน้ำยาเคมีประสานพิเศษกันแตกและห้ามฉาบปูนหนาเกินไป เพราะความร้อนของปูนชั้นในจะระเหยดันออกมายังชั้นนอก และทำให้ปูนฉาบนั้นแตกได้ การฉาบปูนที่ดี ไม่น่าใช้ฟองน้ำที่แห้งเกินไป เพราะจะดูดน้ำปูนออกจากปูนฉาบ หากมีงบประมาณเพียงพอ น่าให้ใช้วิธี “ปั่นแห้ง”…

Scroll to top